สวัสดีครับ
อยากมาเเชร์เรื่องวางแผนการเงินส่วนตัว จากสิ่งที่เราเรียนรู้มา
ปรับเป็นความเข้าใจเป็นวิธีการของเรา
ปรับเป็นความเข้าใจเป็นวิธีการของเรา
ซึ่งบางคนอาจจรู้อยู่แล้ว เราขอแชร์กับคนที่ยังไม่รู้ละกันครับ เผื่อมีประโยขน์กับใครบ้างครับ
จุดเริ่มต้น
ใครๆก็คงได้ยินเรื่อง การออมบ้าง การลงทุนบ้าง ภาษี สินเชื่อ
รู้สึกมันต่างคนต่างอยู่ไม่ได้เกี่ยวข้องกันมั้ย เราเมื่อก่อนเป็นแบบนี้เลย
รู้สึกมันต่างคนต่างอยู่ไม่ได้เกี่ยวข้องกันมั้ย เราเมื่อก่อนเป็นแบบนี้เลย
ไม่ได้สนใจอะไร หามาก็ใช้บ้าง เก็บบ้าง เเต่ไม่รู้เป้าหมายคืออะไร
การลงทุนก็มีไดมีเสีย เเต่ส่วนใหญ่เสีย 555
การลงทุนก็มีไดมีเสีย เเต่ส่วนใหญ่เสีย 555
ลงกองทุนลดหย่อนภาษีดูตัวซิ่งๆ เเต่สุดท้ายก็ดอย บางทีลงเยอะไป คิดเเต่จะลดภาษี
ไม่คุ้มอีก 555 (กองทุนจีนหนักสุดเลย)
ไม่คุ้มอีก 555 (กองทุนจีนหนักสุดเลย)
ถ้ามีคนมาถามว่า มีเงินออม ลงทุน ลดหย่อนมั้ย มี!
เเต่ถ้าถามต่อ ว่าต้องลงทุนเท่าไหร่ มีเงินออม เท่าไหร่ จะเริ่มตอบไม่ได้เเล้ว 5555
เพราะทุกอย่างมันคิดกระจัดกระจายกัน
เเต่ถ้าถามต่อ ว่าต้องลงทุนเท่าไหร่ มีเงินออม เท่าไหร่ จะเริ่มตอบไม่ได้เเล้ว 5555
เพราะทุกอย่างมันคิดกระจัดกระจายกัน

เเต่สิ่งที่ทำให้ทุกอย่างเริ่มจับมารวมกันได้คือ
"เอ ถ้าเราเเก่ไป ต้องใช้เงินเท่าไหร่นะ"
ไม่รู้เหมือนกันว่าทำไมจู่ๆก็นึกขึ้นมา
คิดว่า เกษียณอายุ 55 ปี อยู่สัก 85 ปี ใช้เดือนละ 20,000 บาท
ตอนนั้นคงมีบ้าน มีรถ ไม่ต้องผ่อนเเล้ว กินง่ายๆ คงพอ น้ำ ไฟ ไหวเเหละ
ตอนนั้นคงมีบ้าน มีรถ ไม่ต้องผ่อนเเล้ว กินง่ายๆ คงพอ น้ำ ไฟ ไหวเเหละ
7,200,000 บาท!
(เเบบไม่รวมเงินเฟ้อ ตอนนั้นยังไม่รู้เรื่อง มารู้ตอนเริ่มศึกษาเพิ่มเติม พอรู้ รู้งี้ไม่รู้สบายกว่ามั้ย 555)
(เเบบไม่รวมเงินเฟ้อ ตอนนั้นยังไม่รู้เรื่อง มารู้ตอนเริ่มศึกษาเพิ่มเติม พอรู้ รู้งี้ไม่รู้สบายกว่ามั้ย 555)
เเว่บเเรกเลยคือ ลดอายุที่จะอยู่ลงดีกว่า 555
ยังไม่รวมป่วยอีกนะ กี่บาทว้า
คิดว่าต้องเก็บอีก 20 ปี ประมาณ 30,000 บาทต่อเดือน เเบบเก็บเเยกต่างหาก
เเต่รายจ่ายอื่นก็มี เช่น รถก็ผ่อน คอนโดก็ต้องอยู่ เงินส่งให้ที่บ้านบ้าง เที่ยวต่างประเทศอีก
ภาษีก็เสีย จะเก็บถึงยังไง
เเต่รายจ่ายอื่นก็มี เช่น รถก็ผ่อน คอนโดก็ต้องอยู่ เงินส่งให้ที่บ้านบ้าง เที่ยวต่างประเทศอีก
ภาษีก็เสีย จะเก็บถึงยังไง
ซึ่งพอเห็นเป้าที่ลองคิดขึ้นมา เราทุกคนคงมีความคิดคล้ายๆกัน ต้องหาเงินเพิ่มละ ทางไหน ยังไง
เงิน Active Passive ตอนทำงานเเรกๆ เคยอ่านอยู่ พอจำได้ลางๆ(จากหนังสือพ่อรวยสอนลูก)
เงิน Active Passive ตอนทำงานเเรกๆ เคยอ่านอยู่ พอจำได้ลางๆ(จากหนังสือพ่อรวยสอนลูก)
คือ Pain point เรา ที่ทำให้เราเริ่มนึกว่า ต้องมีแผนอะไรหน่อยเเล้ว
ทำให้เริ่มศึกษาวางแผน ซึ่งจริงๆมันคือ

การวางแผนการเงิน (Personal Finance)
ที่เราเกริ่นไว้ย่อหน้าเเรกเลย เรื่อง ออม ลงทุน ภาษี สินเชื่อ พวกนี้เราควรจัดระเบียบ
จัดสัดส่วนตามแผนที่เราวางไว้ เพราะก่อนนี้ที่เล่าไปมันก็มีทำเเต่ งงๆ ไม่รู้เป้าหมาย
ทำให้จำนวนที่ใส่ไปไม่ effective เท่าที่ควร
จัดสัดส่วนตามแผนที่เราวางไว้ เพราะก่อนนี้ที่เล่าไปมันก็มีทำเเต่ งงๆ ไม่รู้เป้าหมาย
ทำให้จำนวนที่ใส่ไปไม่ effective เท่าที่ควร
งั้นเริ่มกันเลย!
กระแสเงินสด (CASHFLOW)
ถ้าแปลงทางการหน่อย กระแสเงินสด
ง่ายๆเลยถ้าของวางแผนส่วนบุคคลคือ รายรับ-รายจ่าย

แผนการเงินจะวางไม่ได้เลยถ้าเราไม่มี Cashflow เป็นบวก
คิดตามนะครับ
ถ้าเราใช้เงินมากกว่าหาได้ เราก็จะเครียดว่าเราจะหาเงินที่ไหนมาจ่าย
ถ้าเราใช้เงินพอดีกับที่หาได้ เรียกเดือนชนเดือน เครียดน้อยกว่าหน่อย
คิดตามนะครับ
ถ้าเราใช้เงินมากกว่าหาได้ เราก็จะเครียดว่าเราจะหาเงินที่ไหนมาจ่าย
ถ้าเราใช้เงินพอดีกับที่หาได้ เรียกเดือนชนเดือน เครียดน้อยกว่าหน่อย
ส่วนแรกเลยต้องทำให้มีเงินออมให้ได้ก่อนเลย
เป้า 1 ออม ออม ออม และ เงินสำรองฉุกเฉิน
ทำรายรับ-รายจ่ายของเเต่ละเดือนขึ้นมา
ส่วนหัวข้อก็เเบ่งตามรูปนี้ก็ได้นะครับ
ส่วนหัวข้อก็เเบ่งตามรูปนี้ก็ได้นะครับ
ตัวอย่าง

ซึ่งก็จะทำให้เราเห็นว่าเเต่ละเดือนเราใช้อะไรบ้างเหลือเงินเท่าไหร่
เเละเงินเหลือต่อปีเท่าไหร่จะได้วางแผนในส่วนต่างๆที่เหลือได้อย่างเหมาะสม
เเละอีกส่วนที่เกริ่นไว้นั้นก็คือเงินสำรองฉุกเฉิน
เเละเงินเหลือต่อปีเท่าไหร่จะได้วางแผนในส่วนต่างๆที่เหลือได้อย่างเหมาะสม
เเละอีกส่วนที่เกริ่นไว้นั้นก็คือเงินสำรองฉุกเฉิน
คือไรหว่า
เงินสำรองฉุกเฉิน (Emergency Cash)
ตรงตัวเลยครับ คือเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ตอนที่เราตกงาน หรือ ติดขัดในด้านธุรกิจ มีก็สามารถช่วยให้ไม่วิกฤตได้
เอาเเบบง่ายๆ คิดจาก รายจ่ายประจำเช่น ค่าบ้าน ค่าผ่อนรถ น้ำ ไฟ กินอยู่ ตามคำเเนะนำควรมีเผื่อไว้ 6 เดือนถึง 1 ปี
ซึ่งเเล้วเเต่สะดวกเลยครับ
ตรงตัวเลยครับ คือเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ตอนที่เราตกงาน หรือ ติดขัดในด้านธุรกิจ มีก็สามารถช่วยให้ไม่วิกฤตได้
เอาเเบบง่ายๆ คิดจาก รายจ่ายประจำเช่น ค่าบ้าน ค่าผ่อนรถ น้ำ ไฟ กินอยู่ ตามคำเเนะนำควรมีเผื่อไว้ 6 เดือนถึง 1 ปี
ซึ่งเเล้วเเต่สะดวกเลยครับ
เช่น รายจ่ายประจำ 20,000 บาท 6 เดือน เท่ากับ 120,000 บาท ที่ควรมีสำรองไว้
ซึ่งพอได้ประมาณนี้เเล้ว Part 2
จะมาเล่าให้ฟังว่าเราควรทำอะไรกันต่อนะครับบ
จะมาเล่าให้ฟังว่าเราควรทำอะไรกันต่อนะครับบ